Tuesday, September 11, 2012

คาถากันปืน

คาถากันปืน


นะอุ เออัด อุทธังพะลังเสยยัด
อะอัดนะ นัดมัดอัด อุทธะอุตตัมปิ
อุตตะรัง อุสุอัสสะปะปิ ภะคะวา
อิติปิผิดนะอุทธัง อัทโธ โมโทอัดธังอุด
พุทอุทธัง อัทโธ ชาโธอุทธัง อัดยะมิให้ออก
นะผิดกาโรโหติ สัมภะโว


ใช้สวดภาวนาตอนที่สถานการณ์คับขัน เพื่อให้แคล้วคลาดจากอาวุธปืน

คาถาเอ็นดู

คาถาเอ็นดู


วิชชาจะระณะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา
ปิยะเทวะมนุสสานัง ปิโยพรหมานะ มุตตะโม
ปิโยนาคะ สุปัณณานัง
ปิณินทะริยัง นะมามิหัง
นะเมตตา โมกรุณา พุทปรานี ธายินดี ยะเอ็นดู


ให้ท่องคาถาก่อนไปพบผู้หลักผู้ใหญ่เพื่อให้เกิดความรักใคร่เอ็นดู

คาถาอุปถัมภ์

คาถาอุปถัมภ์


อิติปาระมิตาติงสา อิติสัพพัญมาคะตา อิติโพธิ มนุปปัตโต อิติปิโส จะตมะโน
นะเมตตา โมกรุณา พุทปรานี ธายินดี ยะเอ็นดู ยะหันตวา ธามัวเมา พุทพาเอา นะโมพุทธายะ


ใช้ท่องก่อนออกจากบ้าน จะทำให้เจ้านายสงสาร ช่วยเหลืออุปถ้มภ์ดี

คาถาอัญเชิญพระเครื่อง

คาถาอัญเชิญพระเครื่อง


พุทธัง อาราธนานัง รักษา ธัมมัง อารธนานัง รักษา สังฆัง อาราธนานัง รักษา


ใช้สวดภาวนากับพระเครื่องก่อนออกจากบ้าน พระจะคุ้มครองเป็นสิริมงคลกับตัวเอง

คาถาสาริกาลิ้นทอง

คาถาสาริกาลิ้นทอง

พุทธา อะเนนา มะลิยา สุสังคะเยมิ
พุทธา อิริมะลิยา สุสังคะเยมิ
พุทธา อิรปะโย เคมะคุณนะ ปักเขสะเมมะมิ
อุนาโลมา ปันนะ วิชายะเต


ใช้สวดภาวนาหากต้องการให้คนรักใคร่ พูดจาเป็นเสน่ห์ ตอนท่องถึงคำว่า มิ ก็ให้แตะที่ลิ้นด้วยทุกครั้ง

คาถาสมัครงาน

คาถาสมัครงาน

พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะริรัญ ชีวิตัญวิทัง
นะโมมิตตามนุสสาจะ นะเมตตา โมกรุณา

ใช้ท่องก่อนออกจากบ้านไปสัมภาษณ์หรือสมัครงานจะทำให้มีเสน่ห์เป็นที่ประทับใจ

คาถาเมตตามหาเสน่ห์ (ของหลวงปู่ศุข)

คาถาเมตตามหาเสน่ห์ (ของหลวงปู่ศุข)


อักโขหะมัสสะมิ โลกัสสะ อิติปาระมิตาติงสา
อิติสัพพัญญูมาคะตา อิติ โพธิมะนุปัตโต อิติปิโส จะ เต นะโม อะระหัง ลาโภ พุทโธ ลาภัง นะชาลีติ
นะมะพะทะ สัพเพ ชะนา พหู ชะนา ราชาปุริโส อิตถิโยมาพัง เอหิ จิตตัง ปิยัง มะมะ
เอหิ มาเร โส มามา อาคัจเฉยยะ อาคัจฉาหิ

คาถาเมตตามหาเสน่ห์ของหลวงปู่ศุข (วัดปากคลองมะขามเฒ่า)

คาถาเมตตามหานิยม

คาถาเมตตามหานิยม


นะเมตตา โมกรุณา พุทธปราณี ธายินดี ยะเอ็นดู นะโมพุทธายะ นะมะอะอุ

ใช้ภาวนาคาถาก่อนออกจากบ้าน จะทำให้คนที่พบเจอมีความรู้สึกที่ดี การติดต่อใดๆ ก็จะราบรื่นไม่ติดขัด
หรือของอีกสำนักหนึ่งว่าสั้นๆ ดังนี้




เมตตา คุณะณัง อะระหัง เมตตา

คาถาเมตตามหานิยม

คาถาเมตตามหานิยม


พุทธังเมตตา นะ ชาลีติ ธัมมังเมตตา นะ ชาลีติ สังฆังเมตตา นะ ชาลีติ สีวะลีเมตตา นะ ชาลีติ โอมมะพะลัง วา ราชะกุมาโร วา ราชะกุมารี วา ราชา วา ราชินี วา คะหัฏโฐ วา ปัพพะชิโต วา สะมะโณ วา พราหมโณ วา อิตถี วา ปุริโส วา วาณิโช วา วาณิชา วา อุปาสะโก วา อุปาสิกา วา ทาระโก วา ทาริกา วา สัพเพ อิเม ชะนา พะหู ชะนา มัง ปิยายันตุ อาคัจเฉยยะ อาคัจฉาหิ เอหิ จิตตัง ปิยัง มะมะ มะหาลาภะสักการา ภะวันตุ เม


เป็นคาถาเมตตามหานิยม (คาถาพระสีวะลี)

คาถามัดใจ

คาถามัดใจ

พุทธัง รัตตะนัง ธัมมัง รัตตะนัง สังฆัง รัตตะนัง นะผูก โมมัด พุทรัด ธารึง ยะกรึงคะเร โอมสวาหะ

ใช้สวดภาวนาก่อนนอน ทำให้คนรักคิดถึง

Monday, September 10, 2012

คาถามหาเสน่ห์

คาถามหาเสน่ห์


จันโท อะภิกันตะโร
ปิติ ปิโย เทวะมนุสสานัง
อิตถิโย ปุริโส
มะ อะ อุ อุ มะ อะ อิสวาสุ อิกะวิติ


ให้ภาวนาคาถานี้ ๓ จบก่อนออกไปพบคน จะทำให้คนที่ต้องไปพบเกิดความรักใคร่

คาถามนต์รัก

คาถามนต์รัก


โอม นะ ปะ โร รันนะขุเภติ
พุทธัง สะระติ จิตตัง สมาคะมา
ธัมมัง สะระติ จิตตัง สมาคะมา
สังฆัง สะระติ จิตตัง สมาคะมา



ใช้ภาวนากับดอกไม้ก่อนที่จะส่งให้กับคนรัก เมื่อเขาหรือเธอสูดดมดอกไม้ก็จะรักเราตอบ

คาถาผูกใจคน

คาถาผูกใจคน


โอมนะโมพุทธะ นะ มะ อะ อุ เอหิชัยยะ เอหิสัพเพชะนา พะหูชะนา เอหิ

ใช้สวดเมื่อต้องการให้คนทั่วไปรักใคร่ยินดี ใช้เสกกับแป้งหรือน้ำหอมก็ได้

คาถาใจอ่อน

คาถาใจอ่อน


ปัญจะมังสิระสังชาตัง นะอตใจ นะกาโร โหติ สัมภะโว
ตรีนิกัตวานะ นะ การัง ปัญจะสัมภะวัง

ใช้ท่องก่อนที่จะพบเจรจากับคนที่เป็นเจ้าหนี้หรือใครก็ตาม จะทำให้ได้รับการผ่อนปรน ใจอ่อนได้ทุกที



คาถาใจอ่อน


ปัญจะมังสิระสังชาตัง นะอตใจ นะกาโร โหติ สัมภะโว
ตรีนิกัตวานะ นะ การัง ปัญจะสัมภะวัง 


 

คาถาเจ้านายเมตตา

คาถาเจ้านายเมตตา


ปัญจะมังสิระสังขาตัง นาหาย นะกาโร โหติ สัมภะโว อิสวาสุ

ให้สวดท่องภาวนา ๓ จบ ก่อนออกจากบ้าน แล้วเจ้านายจะเมตตา

คาถาค้าขายดี

คาถาค้าขายดี


โอมอิติพุททัตสะ สุวันนัง วารัชชะคัง วามะนีวาวัตตัง วาพัพพะยัน ละเอหิคาคัชวันติ

ให้เอาใบไม้แช่น้ำใส่ขันไว้แล้วสวดภาวนา เลร็จแล้วนำน้ำไปประพรมให้ทั่วร้าน จะทำให้ขายคล่อง หรืออีกคาถาหนึ่งก็ว่ากันว่าทำให้ทำมาค้าขึ้นเหมือนกันคือ
อิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ อิติปิโสภะคะวา พุทโธภะคะวา อิติปิโสภะคะวา พุทโธภะคะวา
และอีกคาถาหนึ่งสำหรับพ่อค้า แม่ค้าที่นิยมเสกเป่า ๓ จบ กับสินค้าเหมือนกันคือ
พุทธัง พะหุชะนานัง เอหิจิตตัง เอหิมะนุสสานัง เอหิลาภัง เอหิเมตตา
ชมภูทีเป มะนุสสานัง อิตถิโย ปุริโส จิตตัง พันธังเอหิ 

คาถาคนนิยม

คาถาคนนิยม

เอหิสาลิกา ยังยัง พุทธัง อาคัจฉาหิ สาลิกาถิง กะระณัง ตาวังคาวา
เอหิมะมะ สุวะโปตะโก อะยัง ราชา สุวัณณะวัณณา สาลิกานัง มะโหสะโต ปิยังมะมะ

ใช้สวดภาวนาเมื่อต้องการติดต่อเจรจาในเรื่องสำคัญ ค้าขาย เพื่อให้คนนิยมชมชอบ

คาถาขุนแผน

คาถาขุนแผน

เอหิมะมะ นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ

ใช้ท่องกับของใช้ส่วนตัวอะไรก็ได้แล้วจะทำให้มีเสน่ห์เป็นที่หลงไหล

คาถาการเจรจา

คาถาการเจรจา


นะโมพุทธายะ มะอะอุ ยะธาพุทโมนะ อุอะอะ อิสวาสุ สัพพะทัสสะ อะสังวิสุ โลปุสะพุภะ

ใช้ภาวนากับน้ำล้างหน้าตอนเช้าก่อนออกจากบ้านไปติดต่อเจรจาเรื่องสำคัญ จะทำให้สำเร็จในสิ่งที่หวังไว้

บทกรวดน้ำ

บทกรวดน้ำ
เมื่อเสร็จพิธีทำบุญและพระสงฆ์กล่าวรับแล้วให้กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้กับเจ้ากรรมนายเวรของเราโดยว่าดังนี้
ข้าพเจ้าขออุทิศบุญกุศลจากการเจริญภาวนานี้ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายของ ข้าพเจ้า ที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินท่านไว้ ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ท่านจะอยู่ภพใดหรือภูมิใดก็ตาม ขอให้ท่านได้รับผลบุญนี้ แล้วโปรดอโหสิกรรม และอนุโมทนายบุญแก่ข้าพเจ้าด้วยอำนาจบุญนี้ด้วยเทอญ


เป็นบทกรวดน้ำให้เจ้ากรรมนายเวร

คำสวดทำวัตรเย็น

คำสวดทำวัตรเย็น

หมายเหตุ คำบาลีในวงเล็บใช้สำหรับผู้สวดภาวนาที่เป็นสตรี
เริ่มด้วยการบูชาพระรัตนตรัยว่า
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

(เฉพาะแบบธรรมยุติ-ผู้สวดนำกล่าวผู้เดียวว่า ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา โย โน ภะคะวา สัตถา ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง สะสาวะกะสังฆัง อะภิปูชะยามะ)

ปุพพภาคนมการ
(แบบธรรมยุตผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อภิคายิตุง ปุพพะภาคะ นะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส)
(แบบมหานิกายผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (ว่า ๓ จบแล้วกราบ 3 ครั้ง)
พุทธานุสสติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง
เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
พุทธาภิคีติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส)
พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต
โพเธสิ โย สุชะนะตังกะมะลังวะ สูโร
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ปะฐะมานุสสติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยังปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะระยา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
(กราบหนึ่งครั้ง)
กาเยนะ วาจายะ วะเจตะสา วา
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยายัง
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะ ยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะพุทเธ

ธัมมานุสสติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ
ธัมมาภิคีติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส)
สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
ธัมมัง เมวันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม
สังฆานุสสติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อายุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ
สังฆาภิคีติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส)
สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา
กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มายา ยัง
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ
จบทำวัตรเย็น


คำสวด หรือบทสวดทำวัตรเย็น

คำสวดทำวัตรเช้า

 คำสวดทำวัตรเช้า

หมายเหตุ คำบาลีในวงเล็บใช้สำหรับผู้สวดภาวนาที่เป็นสตรี
เริ่มด้วยการบูชาพระรัตนตรัยว่า
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
(แต่ถ้าแบบธรรมยุตพระเถระจะเริ่มจากที่นี่)
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

(เฉพาะแบบธรรมยุต-ผู้สวดนำกล่าวผู้เดียวว่า ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา โย โน ภะคะวา สัตถา ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง สะสาวะกะสังฆัง อะภิปูชะยามะ)

ปุพพภาคนมการ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)
พุทธาภิถุติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส)
โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวา โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง
สะพรหมะกัง สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง
สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลยาณัง
มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง
ปะริสุทธัง พรหมะจะริยัง ปะกาเสสิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ
ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ (กราบ)
ธัมมาภิถุติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส)
โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ (กราบ)
สังฆาภิถุติ
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส)
โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ (กราบ แล้วนั่งราบ)
รตนัตตยัปปณามคาถา
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะวัตถุปะริทีปะกะปาฐัญจะ ภะณามะ เส)
พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน โย
มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
สังโฆ สุเขตาภยะติเขตตะสัญญิโต
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง วัตถุตตะยัง
วันทะยะตาภิสังขะตัง ปุญญัง มะยา ยัง
มะมะ สัพพุปัททะวา มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา
สังเวคปริกิตตนปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
ธัมโม จะ เทสีโต นิยยานิโก
อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต
มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ
ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา
เสยยะถีทัง
รูปูปาทานักขันโธ เวทะนูปาทานักขันโธ
สัญญูปาทานักขันโธ สังขารูปาทานักขันโธ วิญญาณูปาทานักขันโธ
เยสังปะริญญายะ ธะระมาโน โส ภะคะวา
เอวัง พะหุลัง สาวเก วิเนติ
เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ
อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ
รูปัง อะนิจจัง เวทะนา อะนิจจา สัญญา อะนิจจา
สังขารา อะนิจจา วิญญาณัง อะนิจจา
รูปัง อะนัตตา เวทะนา อะนัตตา สัญญา อะนัตตา
สังขารา อะนัตตา วิญญาณัง อะนัตตา
สัพเพ สังขารา อะนิจจา สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ
เต (ตา) มะยัง โอติณณามหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ
ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง
ภะคะวันตัง สะระณังคะตา
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง
มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ
สา สา โน ปะฏิปัตติ
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ

*จบทำวัตรเช้า แต่อาจต่อด้วยคาถากรวดน้ำตอนเช้าดังนี้ (มีข้อสังเกตุว่ามีหลายสำนวนด้วยกันและจะไม่เหมือนกัน)

สัพพปัตติทานคาถา (กรวดน้ำระลึกพระคุณ)
(ผู้นำสวดเริ่มว่า หันทะ มะยัง สัพพะปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส)
ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม
เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกะ
เย ปิยา คุณะวันตา จะ มัยหัง มาตาปิตาทะโย
ทิฏฐา เม จาปยะทิฏฐิ วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน
สัตตา ติฏฐันติ โลกัสมิง เต ภุมมา จะตุโยนิกา
ปัญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว
ญาตัง เย ปัตติทานัมเม อะนุโมทันตุ เต สะยัง
เย จิมัง นัปปะชานันติ เทวา เตสัง นิเวทะยุง
มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะ เหตุนา
สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน
เขมัปปะทัญจะ ปัปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา
(จบแล้วกล่าวเพิ่มว่า)
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆังนะมามิ (กราบ)
มาตาปิตุอุปัฏฐานัง อะหัง วันทามิ (กราบ)
คะรุอุปัชฌายะอาจาริยะคุณัง อะหัง วันทามิ (กราบ)

จบทำวัตรเช้าบริบูรณ์

คำสวด หรือบทสวดทำวัตรเช้า

คำบูชาพระรัตนตรัย


คำบูชาพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ (กราบ)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ


เป็นการรำลึกถึงพระพุทธคุณเบื้องต้นก่อนสวดมนต์ บูชาพระ หรือทำพิธีการต่างๆ

คำขอขมาและอธิษฐานจิต

คำขอขมาและอธิษฐานจิต 

สัพพัง อะปะระธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเย นะ กะตัง
สัพพัง อะปะระธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต

คำแปล
หากเข้าเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้งล่วงเกิน บิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วย กาย วาจา ใจ ก็ดีขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย

หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมาขออนุณาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบาน ที่จะติดตามคู่ในอดีต ขอให้ค่างผ่ายต่างเป็นอิสระต่อกัน ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัวตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้องจงเจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใดๆ โรคภัยใดๆ ขอให้มลายสิ้น ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลก และทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้ตราบเข้าสู่พระนิพพาน เทอญ

หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความพยาบาท ความอาฆาต และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชน ของเจ้ากรรมนายเวร ขอให้พ้นนรกภูมิ พบแสงสว่างทั้งทางโลก และทางธรรม เทอญ

ก่อนสวดตั้งนะโม 3 จบ

คุณพ่อคุณแม่รวมถึงผู้มีพระคุณต่อผมครับ ผมยอมรับว่าผมเคยคิดในทางไม่ดีในทางเสื่อมเสียต่อท่าน ถึงสมองจะคิดไปเอง โดยที่ผมมิสารถควบคุมได้ ขอให้ท่านโปรดอโหสิกรรมให้ผมด้วยเถอะครับ ผมไม่อยากจะมีบาปติดตัว โปรดอโหสิกรรมให้ผมเพื่อให้ผมหลุดพ้นจากบาปกรรมที่มาจากการคิดไม่ดีต่อท่าน ด้วยเถอะครับ สาธุ

คำขอขมาพระรัตนตรัย

คำขอขมาพระรัตนตรัย   

อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัจจัคคะมา ยะถาพาเล ยะถามุฬเห 
ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง ภันเต มะยัง อัจจะโย โน
 ปะฏิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ

คำกล่าวบูชาไตรสรณคมน์

คำกล่าวบูชาไตรสรณคมน์  พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 


ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
(ต่อไปพระผู้นำกล่าวรับว่า)
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ
สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย

พุทธะบูชา มหาเตชะวันโต
ธัมมะบูชา มหาปัญโญ
สังฆะบูชา มหาโภคะวาโห
ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ

พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
ปูริสะทัมมสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (กราบ)
ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ (กราบ)
สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)

คาถาแผ่ส่วนกุศล

คาถาแผ่ส่วนกุศล   

อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร 


ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดา บิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดา บิดาของข้าพเจ้ามีความสุข
อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข
อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข
อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ

คาถาแผ่เมตตาพรหมวิหารสี่

คาถาแผ่เมตตาพรหมวิหารสี่  บทเมตตา
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ
จงเป็นผู้ไม่มีเวรแก่กันและกันเถิด
อัพยาปัชฌา โหนตุ
จงเป็นผู้ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
อะนีฆา โหนตุ
จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์กาย ทุกข์ใจเถิด
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
จงเป็นผู้มีสุข พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
บทกรุณา
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
สัพพะทุกขา ปะมุจจันตุ
จงพ้นจากทุกข์เถิด
บทมุทิตา
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
มา ลัทธะสัมปัตติโต วิมุจจันตุ
จงอย่าไปปราศจากสมบัติอันตนได้แล้วเถิด
บทอุเบกขา
สัพเพ สัตตา
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งสิ้น
กัมมัสสะกา
เป็นผู้มีกรรมเป็นของของตน
กัมมะทายาทา
เป็นผู้รับผลของกรรม
กัมมะโยนิ
เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด
กัมมะพันธุ
เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์
กัมมะปะฏิสะระณา
เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสันติ
กระทำกรรมอันใดไว้
กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา
ดีหรือชั่ว
ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ
จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น

คาถาแผ่เมตตาตนเอง

คาถาแผ่เมตตาตนเอง  อะหัง สุขิโต โหมิ
อะหัง นิททุกโข โหมิ
อะหัง อะเวโร โหมิ
อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ
ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง
ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด

คาถาแผ่เมตตา

คาถาแผ่เมตตา  (แผ่ให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย) 

สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ
อัพพะยาปัชฌา โหนตุ
อะนีฆา โหนตุ
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ
สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ


สำหรับแผ่ให้สรรพสัตว์ทั้งหลาย